ระบบและวิธีการเชิงระบบ
1. ระบบและวิธีการเชิงระบบ
ระบบ ( System ) หมายถึงการทำงานขององค์ประกอบย่อยๆ อย่างอิสระแต่มีประฎิสัมพันธ์ซึ่งกันและกันจนกลายเป็นโครงสร้าที่สมบูรณ์ของแต่ล่ะงาน
วีธีการเชิงระบบ ( System Approach ) วิธีการเชิงหรือระบบวิธีระบบ คือ คำๆเดียวกัน เป็นกระบวนการคิดหรือการทำงานอย่างมีแบบแผนชัดเจนในการนำเนื้อหาความรู้ด้านต่างๆ
องค์ประกอบของวิธีระบบ ประกอบด้วย 3 ประการ
1) ปัจจัยนำเข้า (Input) หมายถึง วัตถุสิ่งของต่างๆ รวมถึงเหตุการณ์
1) ปัจจัยนำเข้า (Input) หมายถึง วัตถุสิ่งของต่างๆ รวมถึงเหตุการณ์
2) กระบวนการ (Process) หมายถึง วิธีการ ขั้นตอนในการปฎิบัติงาน
3) ผลลัพธ์ (Output) หมายถึง ผลงานที่ได้จากกระบวนการจัดการวัตถุดิบหรือปัจจัยนำเข้าผลงานที่ได้รับอาจเป็นวิธีการหรือชิ้นงานก็ได้
2. ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ (Information System ) คือ การประมวลผลข้อมูลข่าวสารอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นกระบวนการเพื่อให้ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์สูงสุด สารสนเทศโดยทั่วไปเป็นกระบวนการทำงานประกอบด้วย คน ข้อมูล และเครื่องจักร สิ่งที่จำเป็นในการดำเนินงานระหว่างองค์ประกอบ 3 ประการนี้ได้แก่การสื่อสารข้อมูลระหว่างกัน เพื่อให้การทำงานสอดคล้องประสานกันไปในทิศทางที่ต้องการ
3. องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ จำแนกเป็น 2 ประเภท
1) องค์ประกอบหลักของระบบสารสนเทศ มี 2 ส่วน ได้แก่
ระบบการคิด หมายถึง กระบวนการและขั้นตอนในการจัดลำดับ จำแนก จัดเก็บ และจัดหมวดหมู่ข้อมูลต่างๆ เพื่อความสะดวกในการจัดเก็บและเผยแพร่
ระบบเครื่องมือ หมายถึง วัสดุอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่นำมาใช้ในการรวบรวม จัดเก็บ และเผยแพร่สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
2) องค์ประกอบด้านต่างๆ ของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของสารสนเทศด้านจุดมุ่งหมาย ในการแก้ปัญหา มี 4 ประการ ได้แก่ ข้อมูล (Data) สารสนเทศ (Information) ความรู้ (knowledge) ปัญญา (Wisdom) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการทำงาน
องค์ประกอบของสารสนเทศด้านขั้นตอน มี 3ประการ ได้แก่ 1) ปัจจัยนำเข้า (Input) 2) กระบวนการ (Process) 3) ผลลัพธ์ (Output)
องค์ประกอบของสารสนเทศในหน่วยงาน ได้แก่ บุคลหรือองค์กร เทคโนโลยี ข้อมูล และระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบระบบสารสนเทศทั่วไป คือ เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่อขายสื่อสารข้อมูล (Hardware) ข้อมูล (Data) สารสนเทศ (Information) โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ (Software) บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์ (peopleware)
4. ขั้นตอนการจัดระบบสารสนเทศ
ขั้นที่ 1 การวิเคราะห์ แบ่งออกเป็น 4 หน่วยย่อยคือ
1.1 วิธีวิเคราะห์แนวทางการปฏิบัติงาน
1.2 วิเคราะห์หน้าที่
1.3 วิเคราะห์งาน
1.4 วิเคราะวิธีการและสื่อ
ขั้นที่ 2 การสังเคราะห์ระบบ
2.1 การเลือกวิธีการหรือกลวิธี
2.2 ดำเนินการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
2.3 ประเมินผลประสิทธิภาพการดำเนินงาน
ขั้นที่ 3 การสร้างแบบจำลอง
5. ประเภทของระบบสารสนเทศ
แบ่งได้ 3 ระดับ ได้แก่
1. ระบบสารสนเทศระดับบุคคล คือ ระบบที่เสริมประสิทธิภาพและเพิ่มผลงานให้แต่ละบุคคลในหน้าที่รับผิดชอบ
2. ระบบสารสนเทศระดับกลุ่ม คือ ระบบสารสนเทศที่ช่วยเสริมการทำงานของกลุ่มบุคคลที่มีเป้าหมายการทำงานร่วมกันให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
3.ระบบสารสนเทศระดับองค์กร คือ ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการดำเนินงานงานขององค์กรในภาพรวม
6. ข้อมูลและสารสนเทศ
1. ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจิงที่ปรากฎให้เห็นเป็นประจักษ์สามารถรับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง5ทั้งที่สามารถนับได้และนับไม่ได้ มีลักษณะเป็นวัสดุสิ่งของ เหตุการณ์ ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น
ข้อมูลดิบ (Raw Data) หมายถึง วัสดุสิ่งของ เหตุการณ์ สถานการณ์ ที่มีคุณลักษณะหรือคุณสมบัติอยู่ในสภาพเดิมมีความอิสระเป็นเอกเทศไม่ผ่านการกลั่นกรอง ไม่ได้ถูกนำไปแปรรูปหรือประยุกต์ใช้กับงานใดๆ
2. สารสนเทศ (Imformation) หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการกลั่นกรองโดยจำแนกแจกแจง จัดหมวดหมู่ การคำนวณและประมวลผลแล้วสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป
2.1 คุณสมบัติของข้อมูลสารสนเทศที่ดี
1. ความถูกต้อง
2. ทันเวลา
3. สอดคล้องกับงาน
4. มีความสมบูรณ์ครบถ้วน
2.2 ชนิดของข้อมูล มี 4 ชนิด คือ
1. ข้อมูลที่เป็นตัวเลข
2. ข้อมูลที่เป็นตัวอักขระ
3. ข้อมูลที่เป็นตัวอักษรเลข
4. ข้อมูลมัลติมีเดีย
3. ความรู้ (knowledge) เป็นสภาวะทางสตปัญญาของมนุษย์ในการตีความสิ่งเร้าที่อยู่ภายในและภายนอกด้วยความเข้าใจสาระเนื้อหากระบวนการ และขั้นตอนอาจอยู่ในรูปแบบของข้อมูลดิบหรือสารสนเทศระดับต่างๆ หรืออาจอยู่ในรูปของอารมณ์ความรู้สึกและเหตุผล
ความรู้ มีความสำคัญต่อมนุษย์ สังคม และสิ่งแวดล้อมเสมอ มนุษย์ใช้ความรู้แก่ข้ปัญหา การสร้างสรรค์ผลงาน และการจัดการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน เพื่อให้มนุษย์และประชาคมโลกได้อยู่รวมกันอย่างมีความสุขโดยทั่หน้า
4. การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
4.1 ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล
1. การรวบรวมข้อมูล
2. การบำรุงรักษาและประมวลผลข้อมูล
3. การจัดเก็บข้อมูล
4. การควบคุมข้อมูล
5. การสร้างสารสนเทศ
4.2 วิธีการเก็บข้อมูล
1. การสำรวจด้วยแบบสอบถาม
2. การสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้อง
3. การนับจำนวนหรีอวัดขนาดของตนเอง
เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่อข่ายสื่อสารข้อมูล หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่เป็นเครื่องประมวลผลข้อมูล มี 2 ประเภท
1. สถานีงาน (Workstation) หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่ใช้งาน ณ จุดที่จัดไว้ให้ผู้มาใช้ร่วมกัน
2. เครื่องบริการ (Server) เป็นเครื่องขนาดใหญ่ที่ใช้รวมกันหลายคน เป็นเครื่องที่ใช้เก็บฐานข้อมูลหรือโปรแกรมสำเร็จประยุกต์
เครื่อข่ายสื่อสารข้อมูล คือ เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งใช้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องกันให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันหรือแลกเปลี่ยนกันได้
1. LAN คือ เครือขายบริเวณเฉพาะที่
2. WAN คือ เครือข่ายบรเวณกว้างระยะทางมากกว่า 10 กิโลเมตร
3. อินเตอร์เน็ต คือ เครือข่ายขนาดใหญ่ ประกอบด้วยเครือข่าย WAN จำนวนมากมายซึ่งครอบคลุมพื้นที่กว้างไกลทั่วโลก
3. องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ จำแนกเป็น 2 ประเภท
1) องค์ประกอบหลักของระบบสารสนเทศ มี 2 ส่วน ได้แก่
ระบบการคิด หมายถึง กระบวนการและขั้นตอนในการจัดลำดับ จำแนก จัดเก็บ และจัดหมวดหมู่ข้อมูลต่างๆ เพื่อความสะดวกในการจัดเก็บและเผยแพร่
ระบบเครื่องมือ หมายถึง วัสดุอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่นำมาใช้ในการรวบรวม จัดเก็บ และเผยแพร่สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
2) องค์ประกอบด้านต่างๆ ของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของสารสนเทศด้านจุดมุ่งหมาย ในการแก้ปัญหา มี 4 ประการ ได้แก่ ข้อมูล (Data) สารสนเทศ (Information) ความรู้ (knowledge) ปัญญา (Wisdom) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการทำงาน
องค์ประกอบของสารสนเทศด้านขั้นตอน มี 3ประการ ได้แก่ 1) ปัจจัยนำเข้า (Input) 2) กระบวนการ (Process) 3) ผลลัพธ์ (Output)
องค์ประกอบของสารสนเทศในหน่วยงาน ได้แก่ บุคลหรือองค์กร เทคโนโลยี ข้อมูล และระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบระบบสารสนเทศทั่วไป คือ เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่อขายสื่อสารข้อมูล (Hardware) ข้อมูล (Data) สารสนเทศ (Information) โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ (Software) บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์ (peopleware)
4. ขั้นตอนการจัดระบบสารสนเทศ
ขั้นที่ 1 การวิเคราะห์ แบ่งออกเป็น 4 หน่วยย่อยคือ
1.1 วิธีวิเคราะห์แนวทางการปฏิบัติงาน
1.2 วิเคราะห์หน้าที่
1.3 วิเคราะห์งาน
1.4 วิเคราะวิธีการและสื่อ
ขั้นที่ 2 การสังเคราะห์ระบบ
2.1 การเลือกวิธีการหรือกลวิธี
2.2 ดำเนินการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
2.3 ประเมินผลประสิทธิภาพการดำเนินงาน
ขั้นที่ 3 การสร้างแบบจำลอง
5. ประเภทของระบบสารสนเทศ
แบ่งได้ 3 ระดับ ได้แก่
1. ระบบสารสนเทศระดับบุคคล คือ ระบบที่เสริมประสิทธิภาพและเพิ่มผลงานให้แต่ละบุคคลในหน้าที่รับผิดชอบ
2. ระบบสารสนเทศระดับกลุ่ม คือ ระบบสารสนเทศที่ช่วยเสริมการทำงานของกลุ่มบุคคลที่มีเป้าหมายการทำงานร่วมกันให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
3.ระบบสารสนเทศระดับองค์กร คือ ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการดำเนินงานงานขององค์กรในภาพรวม
6. ข้อมูลและสารสนเทศ
1. ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจิงที่ปรากฎให้เห็นเป็นประจักษ์สามารถรับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง5ทั้งที่สามารถนับได้และนับไม่ได้ มีลักษณะเป็นวัสดุสิ่งของ เหตุการณ์ ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น
ข้อมูลดิบ (Raw Data) หมายถึง วัสดุสิ่งของ เหตุการณ์ สถานการณ์ ที่มีคุณลักษณะหรือคุณสมบัติอยู่ในสภาพเดิมมีความอิสระเป็นเอกเทศไม่ผ่านการกลั่นกรอง ไม่ได้ถูกนำไปแปรรูปหรือประยุกต์ใช้กับงานใดๆ
2. สารสนเทศ (Imformation) หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการกลั่นกรองโดยจำแนกแจกแจง จัดหมวดหมู่ การคำนวณและประมวลผลแล้วสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป
2.1 คุณสมบัติของข้อมูลสารสนเทศที่ดี
1. ความถูกต้อง
2. ทันเวลา
3. สอดคล้องกับงาน
4. มีความสมบูรณ์ครบถ้วน
2.2 ชนิดของข้อมูล มี 4 ชนิด คือ
1. ข้อมูลที่เป็นตัวเลข
2. ข้อมูลที่เป็นตัวอักขระ
3. ข้อมูลที่เป็นตัวอักษรเลข
4. ข้อมูลมัลติมีเดีย
3. ความรู้ (knowledge) เป็นสภาวะทางสตปัญญาของมนุษย์ในการตีความสิ่งเร้าที่อยู่ภายในและภายนอกด้วยความเข้าใจสาระเนื้อหากระบวนการ และขั้นตอนอาจอยู่ในรูปแบบของข้อมูลดิบหรือสารสนเทศระดับต่างๆ หรืออาจอยู่ในรูปของอารมณ์ความรู้สึกและเหตุผล
ความรู้ มีความสำคัญต่อมนุษย์ สังคม และสิ่งแวดล้อมเสมอ มนุษย์ใช้ความรู้แก่ข้ปัญหา การสร้างสรรค์ผลงาน และการจัดการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน เพื่อให้มนุษย์และประชาคมโลกได้อยู่รวมกันอย่างมีความสุขโดยทั่หน้า
4. การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
4.1 ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล
1. การรวบรวมข้อมูล
2. การบำรุงรักษาและประมวลผลข้อมูล
3. การจัดเก็บข้อมูล
4. การควบคุมข้อมูล
5. การสร้างสารสนเทศ
4.2 วิธีการเก็บข้อมูล
1. การสำรวจด้วยแบบสอบถาม
2. การสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้อง
3. การนับจำนวนหรีอวัดขนาดของตนเอง
เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่อข่ายสื่อสารข้อมูล หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่เป็นเครื่องประมวลผลข้อมูล มี 2 ประเภท
1. สถานีงาน (Workstation) หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่ใช้งาน ณ จุดที่จัดไว้ให้ผู้มาใช้ร่วมกัน
2. เครื่องบริการ (Server) เป็นเครื่องขนาดใหญ่ที่ใช้รวมกันหลายคน เป็นเครื่องที่ใช้เก็บฐานข้อมูลหรือโปรแกรมสำเร็จประยุกต์
เครื่อข่ายสื่อสารข้อมูล คือ เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งใช้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องกันให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันหรือแลกเปลี่ยนกันได้
1. LAN คือ เครือขายบริเวณเฉพาะที่
2. WAN คือ เครือข่ายบรเวณกว้างระยะทางมากกว่า 10 กิโลเมตร
3. อินเตอร์เน็ต คือ เครือข่ายขนาดใหญ่ ประกอบด้วยเครือข่าย WAN จำนวนมากมายซึ่งครอบคลุมพื้นที่กว้างไกลทั่วโลก